หน้าแรก อาชีพอิสระ อาชีพอิสระเสียภาษาอย่างไร 5 สิ่งที่ฟรีแลนซ์ควรรู้

อาชีพอิสระเสียภาษาอย่างไร 5 สิ่งที่ฟรีแลนซ์ควรรู้

116

เรื่องสำคัญที่ฟรีแลนซ์ทุกคนควรทราบเพราะการเป็นฟรีแลนซ์นั้นต้องรอบครอบในตัวเองค่อนข้างสูง โดยเฉพาะเรื่องชำระภาษียังไงล่ะ และภาษีต้องชำระอย่างไรสำคัญอย่างไร ว่าด้วยเรื่องภาษี ของแต่ละคนนั้นจะแต่ต่างกันออกไป ภาษีแบ่งไปตามประเภทของอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์เงินเดือน วิชาชีพอิสระ หรือ แม้กระทั่ง ฟรีแลนซ์ แล้วความหมายของ อาชีพอิสะ วิชาชีพอิสะ และ ฟรีแลนซ์ต่างกันยังไง ล่ะ เผินๆ ฟังแล้วเหมือนอาชีพเดียวกันเลย แต่ความจริงแล้วคนละประเภทกัน แตกต่างกันยังไง มาดูกัน 

  1. อาชีพอิสระ คือ อาชีพที่ ได้เงินประเภทที่ 8 หรือ เงินได้ 40 นั้นเอง ซึ่งได้แก่อาชีพ การพาณิชย์ เกษตร อุตสาหกรรม ขายอสังหาริมทรัพย์ จะถือว่าจะต้องมีการขายลงทุนรวมให้แก่กองทุนเพื่อเลี้ยงชีพตามกฏหมายว่าเรื่องหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์นั้นเอง ยกเว้นเงินที่ได้จากออนไลน์ จะถือว่าเป็นเป็นเงินที่ไม่ได้ระบุอยู่ในเงินประเภทที่ 1 ถึง 7 ดังนั้นสามารถหักค่าใช้จ่าย สำหรับอาชีพอิสระ คือ จะเป็นในรูปแบบบุคคล ซึ่งจะอยู่ในเงินประเภทที่ 8 ซึ่งจะเลือกจ่ายได้สองทางคือ หักเหมา 60% หรือ หักตามจริง  โดยส่วนมากเป็นจะเป็นอาชีพนักแสดงอิสระ คือ จะต้องหัก 40%-60% ของ 300,000 บาท หักเหมา 40% ของรายได้ 600,000 บาท เป็นต้น 
  2. ฟรีแลนซ์ อาชีเงินประเภทที่ 2 หรือเงินได้ 40(2) คือ การรับจ้างทั่วไป นั้นเอง การรับจ้างเป็นครั้งคราว แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับ นายจ้างหรือลูกจ้าง รายได้ที่ได้รับคือ ค่าจ้างฟรีแลนซ์ ค่าคอมมิชชั่น ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า การรับรีวิวสินค้า เป็นต้นซึ่งผู้รับเงินคือผู้เสียภาษี 

โดยเราจะแบ่งประเภทของฟรีแลนซ์กันดังนี้

  • ฟรีแลนซ์ที่รับงานแบบโปรเจ็ก
  • ฟรีแลนด์ ที่มีอาชีพหลักอยู่แล้ว แต่รับงานฟรีแลนซ์เพิ่ม  เป็นอาชีพเสริม 
  • ฟรีแลนซ์ที่มีรายได้จากการเป็นฟรีแลซ์หลายทาง หรือทำหลายอาชีพในวันเดียว เช่น รับทำกราฟฟิก กับ รับแปลไปด้วย 
  • ฟรีแลนซ์ ที่ทำงานคล้ายงานประจำ เป็นการเขียนสัญญาร่วมกันกับลูกค้า โดยจะต้องรับงานเดียวเท่านั้น ระยะเวลา 1 เดือนขึ้นไป 

แล้วการ หักภาษี ของฟรีแลนซ์ก็คือ จะต้องเป็น ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% แต่ผู้ว่าจ้างมีอุปกรณ์ทำงานให้ หรือเช่าสถานที่ให้ ผู้ว่าจ้างอาจมีการ คำนวฯ ภาษี ณ ที่จ่าย เป็น แบบ ภาษีส่วนบุคคลคือ หักภาษี ณ ที่จ่าย 0% แบบเดียวกับเงินเดือน ซึ่งจะมีการหักไว้ก่อนแล้ว ผู้รับเงินจะไปชำระภาษีบุคคลธรรมทีเดียวประจำปี อีก 1 ครั้ง โดย พูดง่ายๆคือ สามารถ หักได้ 2 แบบ หักค่าใช้จ่ายได้ 50% ของเงินได้ ไม่เกิน 100,000 และหาก เงินประเภท 1 และ 2 รวมกัน หักไม่เกิน 100,000 บาทเช่นกัน 

  1. วิชาชีพอิสระ คือ อาชีพที่ได้รับเงินประเภท 6 หรือ 40(6) คือ เงินที่ได้ คือ ค่าตอบแทนจากการประกอบวิชาชีพ ที่มี รายได้ไม่ค่อยแน่นอน ซึ่งแบ่งประเภทได้ตามนี้ แพทย์และพยาบาล
  • ประณีตศิลป์
  • วิศวกร
  • สถาปนิก
  • ทนายความ 
  • นักบัญชี 

โดย จะถูกหักภาษี คล้ายๆ กับ ฟรีแลนซ์ คือ หักภาษี ณ ที่จ่าย 3% จะแบ่งการหักภาษีเป็นสองรูปแบบคือ หักตามจริง กับ หักแบบเหมา 30-60​% โดยไม่ต้องมีหลักฐานค่าใช้จ่าย ใครที่กำลังหาข้อมูลอยู่เราหวังว่าข้อมูลที่เราเอามาแบ่งปันนั้นจะช่วยให้ทุกคนได้เข้าใจเกี่ยวกับการเสียภาษีมากยิ่งขึ้น ในครั้งหน้าเราจะมาแชร์อะไรอีกก็รอติดตามได้เลย

 

ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์กบ SME Frog มีความชื่นชอบและสนใจในธุรกิจทุกรูปแบบ แม้เกิดมารูปไม่หล่อพ่อไม่รวย ก็ขอตั้งปนิธานอันแน่วแน่ว่าจะถ่ายทอดช่องทางทำเงินดีๆให้แก้ผู้อ่านแทน มีความถนัดด้านการตลาดออนไลน์เป็นพิเศษ ไม่ว่าจะเป็น SEO การตลาดผ่านเว็บไซต์ และ Facebook